พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
สมเด็จปิลันทน์ ...
สมเด็จปิลันทน์ พิมพ์ปรกโพธิ์ ฐาน 3 ชั้น วัดระฆังเนื้อ ผงใบลาน
สมเด็จปิลันทน์ พิมพ์ปรกโพธิ์ ฐาน 3 ชั้น วัดระฆังเนื้อ ผงใบลาน
ประวัติพระพุทธบาทปิลันทน์
พระสมเด็จปิลันทน์ วัดระฆัง เป็นพระเนื้อผงใบลานเผาส่วนใหญ่เนื้อออกสีเทาๆ พระสมเด็จปิลันทน์ ถ้าจะเรียกให้ถูกต้องก็คือ "พระสมเด็จพระพุทธุปบาทปิลันทน์"สร้างโดยหม่อมเจ้าสมเด็จพระพุฒาจารย์ ทัต เสนีวงศ์ พระสมเด็จปิลันทน์ ซึ่งเป็นพระของวัดระฆังฯ ที่มีการสร้างยาวนานอีกองค์หนึ่ง หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ ทัต เสนีวงศ์ เป็นเจ้าวังหลัง และทรงอุปสมบทเป็นนาคหลวงที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เจ้าประคุณสมเด็จฯ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ประทับอยู่ที่วัดระฆังฯ และศึกษาพระบาลีปริยัติธรรมกับ เจ้าประคุณสมเด็จฯ โดยตรงมาตั้งแต่ต้นจนได้เปรียญ 7 ประโยค และเป็นศิษย์ที่ทรงสมณศักดิ์สูงที่สุดของเจ้าประคุณสมเด็จฯ อีกด้วย ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทรงสมณศักดิ์ที่ หม่อมเจ้าพระพุทธุปบาทปิลันทน์ในรัชกาลที่ 4 อันเป็นสมณศักดิ์ที่ทรงพระราชทานถวายเฉพาะ แด่พระเถระที่เป็นพระราชวงศ์เท่านั้น และทรงสมณศักดิ์สุดท้ายเป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ แล้วโปรดให้ไปครองวัดเชตุพนฯ
พระสมเด็จปิลันทน์ วัดระฆังถ้าจะเรียกให้ถูกต้องเต็มความก็คือ พระสมเด็จพระพุทธุปบาทปิลันทน์ สร้างโดยหม่อมเจ้าสมเด็จพระพุฒาจารย์ ทัด เสนีวงศ์ ในสมัยที่ท่านดำรงสมณศักดิ์ที่ หม่อมเจ้าพระพุทธุปบาทปิลันทน์ ณ วัดระฆังฯ ท่านทรงเป็นศิษย์เอกของเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี นับตั้งแต่ทรงช่วยเจ้าประคุณสมเด็จฯ สร้างพระสมเด็จฯ เป็นต้นมา และได้ทรงสร้างพระเครื่องฯ ของท่านขึ้นมาบ้างในปีพ.ศ. 2411 ภายหลังจากที่เจ้าประคุณสมเด็จฯ ได้สร้างพระสมเด็จฯ มาแล้ว 2 ปี แต่มิได้ทรงสร้างโดยลำพังพระองค์เดียว หากอาราธนาให้เจ้าประคุณสมเด็จฯ ร่วมสร้างด้วย และขอผงวิเศษห้าประการของเจ้าประคุณสมเด็จฯ มาเป็นอิทธิวัตถุผสมเป็นหลักของมวลสาร ดังนั้น พระเครื่องฯ ชนิดนี้คนรุ่นเก่าๆ ที่ทราบประวัติการสร้างจึงนิยมเรียกว่า "พระสองสมเด็จฯ" แต่นักนิยมพระเครื่องทั่วๆไปนิยมเรียกว่า "พระสมเด็จปิลันทน์" เมื่อเจ้าประคุณสมเด็จฯ สิ้นแล้วท่านจึงได้บรรจุพระเครื่องฯ เหล่านี้ไว้ในพระเจดีย์องค์หนึ่ง ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของพระอุโบสถ โดยอุทิศส่วนกุศลถวายเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี ผู้เป็นพระอาจารย์
พระปิลันทน์ มีหลายพิมพ์ ล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือการแกะแม่พิมพ์ของช่างหลวงทั้งสิ้น เพราะแต่ละพิมพ์ล้วนมีความงดงามวิจิตรอลังการ ยากที่ช่างฝีมือชาวบ้านธรรมดาจะทำได้ พิมพ์ที่ถือว่าสุดยอด ของ พระปิลันทน์ ก็คือ พิมพ์ซุ้มประตู เนื้อพระจะออกไปในทางเทาอมดำ บางท่านก็ว่าเป็นเขียวอมดำและมีคราบไขขาวเกาะแน่นหนา ซึ่งทำให้ง่ายต่อการพิจารณายิ่งขึ้น(พระปลอมไขขาวจะหลุดล่อนง่าย)ในส่วนของพระที่บรรจุกรุ ได้มีการขุดพบครั้งแรกเมื่อปี ๒๔๗๑
"สมเด็จพระพุฒาจารย์"มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าทัต เสนีย์วงศ์"
เป็นพระโอรสใน กรมหลวงเสนีย์บริรักษ์ ( พระองค์เจ้าแดง )ใน กรมพระราชวังบวรสถานภิมุข ( วังหลัง ) ประสูติเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๖๔ ในสมัยรัชกาลที่ ๒อุปสมบทเมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๕ จำพรรษา ณ วัดระฆังฯ
ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๑๓ ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังฯ แทน สมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี )ซึ่งชราภาพแล้ว สมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัต) มรณภาพปี พ.ศ.๒๔๔๓
การสร้างพระเครื่องสมเด็จพระปิลันทน์ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในช่วงปี พ.ศ.๒๔๐๗ ขณะดำรงสมณศักดิ์ที่ "พระพุทธบาทปิลันทน์"ในช่วงปีดังกล่าว สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ยังมีชีวิตอยู่
จึงสันนิษฐานว่า เจ้าพระคุณสมเด็จฯโต จะแผ่เมตตาประกอบพิธีปลุกเสกให้ด้วย
ประวัติพระพุทธบาทปิลันทน์
พระสมเด็จปิลันทน์ วัดระฆัง เป็นพระเนื้อผงใบลานเผาส่วนใหญ่เนื้อออกสีเทาๆ พระสมเด็จปิลันทน์ ถ้าจะเรียกให้ถูกต้องก็คือ "พระสมเด็จพระพุทธุปบาทปิลันทน์"สร้างโดยหม่อมเจ้าสมเด็จพระพุฒาจารย์ ทัต เสนีวงศ์ พระสมเด็จปิลันทน์ ซึ่งเป็นพระของวัดระฆังฯ ที่มีการสร้างยาวนานอีกองค์หนึ่ง หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ ทัต เสนีวงศ์ เป็นเจ้าวังหลัง และทรงอุปสมบทเป็นนาคหลวงที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เจ้าประคุณสมเด็จฯ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ประทับอยู่ที่วัดระฆังฯ และศึกษาพระบาลีปริยัติธรรมกับ เจ้าประคุณสมเด็จฯ โดยตรงมาตั้งแต่ต้นจนได้เปรียญ 7 ประโยค และเป็นศิษย์ที่ทรงสมณศักดิ์สูงที่สุดของเจ้าประคุณสมเด็จฯ อีกด้วย ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทรงสมณศักดิ์ที่ หม่อมเจ้าพระพุทธุปบาทปิลันทน์ในรัชกาลที่ 4 อันเป็นสมณศักดิ์ที่ทรงพระราชทานถวายเฉพาะ แด่พระเถระที่เป็นพระราชวงศ์เท่านั้น และทรงสมณศักดิ์สุดท้ายเป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ แล้วโปรดให้ไปครองวัดเชตุพนฯ
พระสมเด็จปิลันทน์ วัดระฆังถ้าจะเรียกให้ถูกต้องเต็มความก็คือ พระสมเด็จพระพุทธุปบาทปิลันทน์ สร้างโดยหม่อมเจ้าสมเด็จพระพุฒาจารย์ ทัด เสนีวงศ์ ในสมัยที่ท่านดำรงสมณศักดิ์ที่ หม่อมเจ้าพระพุทธุปบาทปิลันทน์ ณ วัดระฆังฯ ท่านทรงเป็นศิษย์เอกของเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี นับตั้งแต่ทรงช่วยเจ้าประคุณสมเด็จฯ สร้างพระสมเด็จฯ เป็นต้นมา และได้ทรงสร้างพระเครื่องฯ ของท่านขึ้นมาบ้างในปีพ.ศ. 2411 ภายหลังจากที่เจ้าประคุณสมเด็จฯ ได้สร้างพระสมเด็จฯ มาแล้ว 2 ปี แต่มิได้ทรงสร้างโดยลำพังพระองค์เดียว หากอาราธนาให้เจ้าประคุณสมเด็จฯ ร่วมสร้างด้วย และขอผงวิเศษห้าประการของเจ้าประคุณสมเด็จฯ มาเป็นอิทธิวัตถุผสมเป็นหลักของมวลสาร ดังนั้น พระเครื่องฯ ชนิดนี้คนรุ่นเก่าๆ ที่ทราบประวัติการสร้างจึงนิยมเรียกว่า "พระสองสมเด็จฯ" แต่นักนิยมพระเครื่องทั่วๆไปนิยมเรียกว่า "พระสมเด็จปิลันทน์" เมื่อเจ้าประคุณสมเด็จฯ สิ้นแล้วท่านจึงได้บรรจุพระเครื่องฯ เหล่านี้ไว้ในพระเจดีย์องค์หนึ่ง ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของพระอุโบสถ โดยอุทิศส่วนกุศลถวายเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี ผู้เป็นพระอาจารย์
พระปิลันทน์ มีหลายพิมพ์ ล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือการแกะแม่พิมพ์ของช่างหลวงทั้งสิ้น เพราะแต่ละพิมพ์ล้วนมีความงดงามวิจิตรอลังการ ยากที่ช่างฝีมือชาวบ้านธรรมดาจะทำได้ พิมพ์ที่ถือว่าสุดยอด ของ พระปิลันทน์ ก็คือ พิมพ์ซุ้มประตู เนื้อพระจะออกไปในทางเทาอมดำ บางท่านก็ว่าเป็นเขียวอมดำและมีคราบไขขาวเกาะแน่นหนา ซึ่งทำให้ง่ายต่อการพิจารณายิ่งขึ้น(พระปลอมไขขาวจะหลุดล่อนง่าย)ในส่วนของพระที่บรรจุกรุ ได้มีการขุดพบครั้งแรกเมื่อปี ๒๔๗๑
"สมเด็จพระพุฒาจารย์"มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าทัต เสนีย์วงศ์"
เป็นพระโอรสใน กรมหลวงเสนีย์บริรักษ์ ( พระองค์เจ้าแดง )ใน กรมพระราชวังบวรสถานภิมุข ( วังหลัง ) ประสูติเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๖๔ ในสมัยรัชกาลที่ ๒อุปสมบทเมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๕ จำพรรษา ณ วัดระฆังฯ
ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๑๓ ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังฯ แทน สมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี )ซึ่งชราภาพแล้ว สมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัต) มรณภาพปี พ.ศ.๒๔๔๓
การสร้างพระเครื่องสมเด็จพระปิลันทน์ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในช่วงปี พ.ศ.๒๔๐๗ ขณะดำรงสมณศักดิ์ที่ "พระพุทธบาทปิลันทน์"ในช่วงปีดังกล่าว สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ยังมีชีวิตอยู่
จึงสันนิษฐานว่า เจ้าพระคุณสมเด็จฯโต จะแผ่เมตตาประกอบพิธีปลุกเสกให้ด้วย
ผู้เข้าชม
3237 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
โชว์พระ
โดย
จ่า ยศกร
ชื่อร้าน
บารมีพระเจ้าปู่นาไฮ
ร้านค้า
panahi.99wat.com
โทรศัพท์
0819909324
ไอดีไลน์
tosi1520
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงไทย / 909-0-30664-1
2. ธนาคารทหารไทย / 399-2-77177-8
หลวงพ่อทวดหลังเตารีด วัดไทรใต้
เหรียญหลวงพ่อพระนาไฮ ออกวัดโพธ
พระลีลากรุวัดถ้ำหีบ จ-สุโขทัย
พระสมเด็จปรกโพธิ์มหาลาภ รุ่นแร
หลวงพ่อทวดเนื้อว่าน พิมพ์ต้อกล
พระสมเด็จพิมพ์เทวดา หูบายศรี
เหรียญหมูทองแดง พ่อเที่ยง น่วม
ละเอียด เหรียญหลวงพ่อเต๋ คงทอง
พระผงหลวงปู่ทวด พระเจ้าแสง วัด
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
vanglanna
someman
บีมอุบลฯ
klun_klui
หริด์ เก้าแสน
tangmo
trairat
พระคุ้มครอง
นานา
fuchoo18
hopperman
Chobdoysata
โจ๊ก ป่าแดง
Poosuphan89
kaew กจ.
varavet
termboon
ep8600
ภูมิ IR
อมรทรัพย์พระเครื่อง
ชา วานิช
chaithawat
ยิ้มสยาม573
นรินทร์ ทัพไทย
กรัญระยอง
hra7215
ศิลาแลง
เทพจิระ
อ้วนโนนสูง
ponsrithong2
ผู้เข้าชมขณะนี้ 537 คน
เพิ่มข้อมูล
สมเด็จปิลันทน์ พิมพ์ปรกโพธิ์ ฐาน 3 ชั้น วัดระฆังเนื้อ ผงใบลาน
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
สมเด็จปิลันทน์ พิมพ์ปรกโพธิ์ ฐาน 3 ชั้น วัดระฆังเนื้อ ผงใบลาน
รายละเอียด
สมเด็จปิลันทน์ พิมพ์ปรกโพธิ์ ฐาน 3 ชั้น วัดระฆังเนื้อ ผงใบลาน
ประวัติพระพุทธบาทปิลันทน์
พระสมเด็จปิลันทน์ วัดระฆัง เป็นพระเนื้อผงใบลานเผาส่วนใหญ่เนื้อออกสีเทาๆ พระสมเด็จปิลันทน์ ถ้าจะเรียกให้ถูกต้องก็คือ "พระสมเด็จพระพุทธุปบาทปิลันทน์"สร้างโดยหม่อมเจ้าสมเด็จพระพุฒาจารย์ ทัต เสนีวงศ์ พระสมเด็จปิลันทน์ ซึ่งเป็นพระของวัดระฆังฯ ที่มีการสร้างยาวนานอีกองค์หนึ่ง หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ ทัต เสนีวงศ์ เป็นเจ้าวังหลัง และทรงอุปสมบทเป็นนาคหลวงที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เจ้าประคุณสมเด็จฯ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ประทับอยู่ที่วัดระฆังฯ และศึกษาพระบาลีปริยัติธรรมกับ เจ้าประคุณสมเด็จฯ โดยตรงมาตั้งแต่ต้นจนได้เปรียญ 7 ประโยค และเป็นศิษย์ที่ทรงสมณศักดิ์สูงที่สุดของเจ้าประคุณสมเด็จฯ อีกด้วย ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทรงสมณศักดิ์ที่ หม่อมเจ้าพระพุทธุปบาทปิลันทน์ในรัชกาลที่ 4 อันเป็นสมณศักดิ์ที่ทรงพระราชทานถวายเฉพาะ แด่พระเถระที่เป็นพระราชวงศ์เท่านั้น และทรงสมณศักดิ์สุดท้ายเป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ แล้วโปรดให้ไปครองวัดเชตุพนฯ
พระสมเด็จปิลันทน์ วัดระฆังถ้าจะเรียกให้ถูกต้องเต็มความก็คือ พระสมเด็จพระพุทธุปบาทปิลันทน์ สร้างโดยหม่อมเจ้าสมเด็จพระพุฒาจารย์ ทัด เสนีวงศ์ ในสมัยที่ท่านดำรงสมณศักดิ์ที่ หม่อมเจ้าพระพุทธุปบาทปิลันทน์ ณ วัดระฆังฯ ท่านทรงเป็นศิษย์เอกของเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี นับตั้งแต่ทรงช่วยเจ้าประคุณสมเด็จฯ สร้างพระสมเด็จฯ เป็นต้นมา และได้ทรงสร้างพระเครื่องฯ ของท่านขึ้นมาบ้างในปีพ.ศ. 2411 ภายหลังจากที่เจ้าประคุณสมเด็จฯ ได้สร้างพระสมเด็จฯ มาแล้ว 2 ปี แต่มิได้ทรงสร้างโดยลำพังพระองค์เดียว หากอาราธนาให้เจ้าประคุณสมเด็จฯ ร่วมสร้างด้วย และขอผงวิเศษห้าประการของเจ้าประคุณสมเด็จฯ มาเป็นอิทธิวัตถุผสมเป็นหลักของมวลสาร ดังนั้น พระเครื่องฯ ชนิดนี้คนรุ่นเก่าๆ ที่ทราบประวัติการสร้างจึงนิยมเรียกว่า "พระสองสมเด็จฯ" แต่นักนิยมพระเครื่องทั่วๆไปนิยมเรียกว่า "พระสมเด็จปิลันทน์" เมื่อเจ้าประคุณสมเด็จฯ สิ้นแล้วท่านจึงได้บรรจุพระเครื่องฯ เหล่านี้ไว้ในพระเจดีย์องค์หนึ่ง ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของพระอุโบสถ โดยอุทิศส่วนกุศลถวายเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี ผู้เป็นพระอาจารย์
พระปิลันทน์ มีหลายพิมพ์ ล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือการแกะแม่พิมพ์ของช่างหลวงทั้งสิ้น เพราะแต่ละพิมพ์ล้วนมีความงดงามวิจิตรอลังการ ยากที่ช่างฝีมือชาวบ้านธรรมดาจะทำได้ พิมพ์ที่ถือว่าสุดยอด ของ พระปิลันทน์ ก็คือ พิมพ์ซุ้มประตู เนื้อพระจะออกไปในทางเทาอมดำ บางท่านก็ว่าเป็นเขียวอมดำและมีคราบไขขาวเกาะแน่นหนา ซึ่งทำให้ง่ายต่อการพิจารณายิ่งขึ้น(พระปลอมไขขาวจะหลุดล่อนง่าย)ในส่วนของพระที่บรรจุกรุ ได้มีการขุดพบครั้งแรกเมื่อปี ๒๔๗๑
"สมเด็จพระพุฒาจารย์"มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าทัต เสนีย์วงศ์"
เป็นพระโอรสใน กรมหลวงเสนีย์บริรักษ์ ( พระองค์เจ้าแดง )ใน กรมพระราชวังบวรสถานภิมุข ( วังหลัง ) ประสูติเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๖๔ ในสมัยรัชกาลที่ ๒อุปสมบทเมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๕ จำพรรษา ณ วัดระฆังฯ
ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๑๓ ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังฯ แทน สมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี )ซึ่งชราภาพแล้ว สมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัต) มรณภาพปี พ.ศ.๒๔๔๓
การสร้างพระเครื่องสมเด็จพระปิลันทน์ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในช่วงปี พ.ศ.๒๔๐๗ ขณะดำรงสมณศักดิ์ที่ "พระพุทธบาทปิลันทน์"ในช่วงปีดังกล่าว สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ยังมีชีวิตอยู่
จึงสันนิษฐานว่า เจ้าพระคุณสมเด็จฯโต จะแผ่เมตตาประกอบพิธีปลุกเสกให้ด้วย
ประวัติพระพุทธบาทปิลันทน์
พระสมเด็จปิลันทน์ วัดระฆัง เป็นพระเนื้อผงใบลานเผาส่วนใหญ่เนื้อออกสีเทาๆ พระสมเด็จปิลันทน์ ถ้าจะเรียกให้ถูกต้องก็คือ "พระสมเด็จพระพุทธุปบาทปิลันทน์"สร้างโดยหม่อมเจ้าสมเด็จพระพุฒาจารย์ ทัต เสนีวงศ์ พระสมเด็จปิลันทน์ ซึ่งเป็นพระของวัดระฆังฯ ที่มีการสร้างยาวนานอีกองค์หนึ่ง หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ ทัต เสนีวงศ์ เป็นเจ้าวังหลัง และทรงอุปสมบทเป็นนาคหลวงที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เจ้าประคุณสมเด็จฯ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ประทับอยู่ที่วัดระฆังฯ และศึกษาพระบาลีปริยัติธรรมกับ เจ้าประคุณสมเด็จฯ โดยตรงมาตั้งแต่ต้นจนได้เปรียญ 7 ประโยค และเป็นศิษย์ที่ทรงสมณศักดิ์สูงที่สุดของเจ้าประคุณสมเด็จฯ อีกด้วย ต่อมาได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทรงสมณศักดิ์ที่ หม่อมเจ้าพระพุทธุปบาทปิลันทน์ในรัชกาลที่ 4 อันเป็นสมณศักดิ์ที่ทรงพระราชทานถวายเฉพาะ แด่พระเถระที่เป็นพระราชวงศ์เท่านั้น และทรงสมณศักดิ์สุดท้ายเป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ หม่อมเจ้าพระสมเด็จพระพุฒาจารย์ แล้วโปรดให้ไปครองวัดเชตุพนฯ
พระสมเด็จปิลันทน์ วัดระฆังถ้าจะเรียกให้ถูกต้องเต็มความก็คือ พระสมเด็จพระพุทธุปบาทปิลันทน์ สร้างโดยหม่อมเจ้าสมเด็จพระพุฒาจารย์ ทัด เสนีวงศ์ ในสมัยที่ท่านดำรงสมณศักดิ์ที่ หม่อมเจ้าพระพุทธุปบาทปิลันทน์ ณ วัดระฆังฯ ท่านทรงเป็นศิษย์เอกของเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี นับตั้งแต่ทรงช่วยเจ้าประคุณสมเด็จฯ สร้างพระสมเด็จฯ เป็นต้นมา และได้ทรงสร้างพระเครื่องฯ ของท่านขึ้นมาบ้างในปีพ.ศ. 2411 ภายหลังจากที่เจ้าประคุณสมเด็จฯ ได้สร้างพระสมเด็จฯ มาแล้ว 2 ปี แต่มิได้ทรงสร้างโดยลำพังพระองค์เดียว หากอาราธนาให้เจ้าประคุณสมเด็จฯ ร่วมสร้างด้วย และขอผงวิเศษห้าประการของเจ้าประคุณสมเด็จฯ มาเป็นอิทธิวัตถุผสมเป็นหลักของมวลสาร ดังนั้น พระเครื่องฯ ชนิดนี้คนรุ่นเก่าๆ ที่ทราบประวัติการสร้างจึงนิยมเรียกว่า "พระสองสมเด็จฯ" แต่นักนิยมพระเครื่องทั่วๆไปนิยมเรียกว่า "พระสมเด็จปิลันทน์" เมื่อเจ้าประคุณสมเด็จฯ สิ้นแล้วท่านจึงได้บรรจุพระเครื่องฯ เหล่านี้ไว้ในพระเจดีย์องค์หนึ่ง ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของพระอุโบสถ โดยอุทิศส่วนกุศลถวายเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ โต พรหมรังสี ผู้เป็นพระอาจารย์
พระปิลันทน์ มีหลายพิมพ์ ล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือการแกะแม่พิมพ์ของช่างหลวงทั้งสิ้น เพราะแต่ละพิมพ์ล้วนมีความงดงามวิจิตรอลังการ ยากที่ช่างฝีมือชาวบ้านธรรมดาจะทำได้ พิมพ์ที่ถือว่าสุดยอด ของ พระปิลันทน์ ก็คือ พิมพ์ซุ้มประตู เนื้อพระจะออกไปในทางเทาอมดำ บางท่านก็ว่าเป็นเขียวอมดำและมีคราบไขขาวเกาะแน่นหนา ซึ่งทำให้ง่ายต่อการพิจารณายิ่งขึ้น(พระปลอมไขขาวจะหลุดล่อนง่าย)ในส่วนของพระที่บรรจุกรุ ได้มีการขุดพบครั้งแรกเมื่อปี ๒๔๗๑
"สมเด็จพระพุฒาจารย์"มีพระนามเดิมว่า "หม่อมเจ้าทัต เสนีย์วงศ์"
เป็นพระโอรสใน กรมหลวงเสนีย์บริรักษ์ ( พระองค์เจ้าแดง )ใน กรมพระราชวังบวรสถานภิมุข ( วังหลัง ) ประสูติเมื่อปี พ.ศ. ๒๓๖๔ ในสมัยรัชกาลที่ ๒อุปสมบทเมื่อปี พ.ศ.๒๓๘๕ จำพรรษา ณ วัดระฆังฯ
ต่อมาปี พ.ศ.๒๔๑๓ ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดระฆังฯ แทน สมเด็จพระพุฒาจารย์ ( โต พรหมรังสี )ซึ่งชราภาพแล้ว สมเด็จพระพุฒาจารย์ (ทัต) มรณภาพปี พ.ศ.๒๔๔๓
การสร้างพระเครื่องสมเด็จพระปิลันทน์ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นในช่วงปี พ.ศ.๒๔๐๗ ขณะดำรงสมณศักดิ์ที่ "พระพุทธบาทปิลันทน์"ในช่วงปีดังกล่าว สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ยังมีชีวิตอยู่
จึงสันนิษฐานว่า เจ้าพระคุณสมเด็จฯโต จะแผ่เมตตาประกอบพิธีปลุกเสกให้ด้วย
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
3238 ครั้ง
สถานะ
โชว์พระ
โดย
จ่า ยศกร
ชื่อร้าน
บารมีพระเจ้าปู่นาไฮ
URL
http://www.panahi.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0819909324
ID LINE
tosi1520
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงไทย / 909-0-30664-1
2. ธนาคารทหารไทย / 399-2-77177-8
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี